[พระมหาปาละปรึกษากรัชกาย]
“คจฺฉ ตฺวํ ตาวาวุโส มนฺเตตฺวา ชานิสฺสามี”ติ เวชฺชํ อุยฺโยเชสิ. เถรสฺส จ ตตฺถ เนว ญาตี น สาโลหิตา อตฺถิ เตน สทฺธึ มนฺเตยฺย? กรชกาเยน ปน สทฺธึ มนฺเตนฺโต “วเทหิ ตาว อาวุโส ปาลิต ตฺวํ กึ อกฺขีนิ โอโลเกสฺสสิ อุทาหุ พุทฺธสาสนํ? อนมตคฺคสฺมิญฺหิ สํสารวฏฺเฏ ตว อกฺขิกาณสฺส คณนา นาม นตฺถิ อเนกานิ ปน พุทฺธสตานิ พุทฺธสหสฺสานิ อตีตานิ. เตสุ เต เอกพุทฺโธปิ น ปริจิณฺโณ อิทานิ อิมํ อนฺโตวสฺสํ ตโย มาเส น นิปชฺชิสฺสามีติ เตมาสํ นิพทฺธวีริยํ กริสฺสามิ.
พระเถระตอบว่า ไปเถิด ผู้มีอายุ ข้าพเจ้าจักปรึกษาดูก่อนแล้วจึงจักรู้. ก็ในที่นั้นไม่มีญาติสาโลหิตของพระเถระเลย ท่านจะพึงปรึกษากับใครเล่า ? ถึงอย่างนั้น ท่านปรึกษากับกรัชกาย อยู่ดำริว่า แน่ะปาลิตะผู้มีอายุ ท่านจงว่ามาก่อน, ท่านจักเห็นแก่จักษุหรือจักเห็นแก่พระพุทธศาสนา, ก็ในสังสารวัฏอันมีที่สุด อันใครตามค้นไปก็รู้ไม่ได้ การคณนานับตัวท่านผู้บอดด้วยจักษุหามีไม่, และพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ก็ล่วงไปหลายร้อยหลายพันพระองค์แล้ว ในพระพุทธเจ้าเหล่านั้น พระพุทธเจ้า แม้แต่พระองค์เดียวก็กำหนดไม่ได้. ท่านได้ผูกใจไว้เดี๋ยวนี้เองว่า จักไม่นอน จนตลอด ๓ เดือนภายในฤดูฝนนี้,
ตสฺมา เต จกฺขูนิ นสฺสนฺตุ วา ภิชฺชนฺตุ วา พุทฺธสาสนเมว ธาเรหิ มา จกฺขูนี”ติ ภูตกายํ โอวทนฺโต อิมา คาถาโย อภาสิ
เหตุฉะนั้น จักษุของท่านฉิบหายเสียหรือแตกเสียก็ตามเถิดท่านจงทรงแต่พระพุทธศาสนาไว้เถิด อย่าเห็นแก่จักษุเลย เมื่อกล่าวสอนภูตกาย ได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ว่า :-
จักษุที่ท่านถือว่าของตัว เสื่อมไปเสียเถิด,
หู ก็เสื่อมไปเสียเถิด,
กายก็เป็นเหมือนกันอย่างนั้นเถิด,
แม้สรรพสิ่งอันอาศัยกายนี้ ก็เสื่อม ไปเสียเถิด,
ปาลิตะ เหตุไฉน ท่านจึงประมาทอยู่.
จักษุที่ท่านถือว่าของตัว ทรุดโทรมไปเสียเถิด,
หูก็ทรุดโทรมไปเสียเถิด,
กายก็เป็นเหมือน กันอย่างนั้นเถิด,
สพฺพมฺปิทํ ชีรตุ เทหนิสฺสิตํ
แม้สรรพสิ่งอันอาศัยกายนี้ ก็ทรุดโทรมไปเสียเถิด,
ปาลิตะ เหตุไฉน ท่านจึงประมาทอยู่.
จักษุที่ท่านถือว่าของตัว แตก ไปเสียเถิด,
หูก็แตกไปเสียเถิด,
รูปก็เป็นเหมือนกันอย่างนั้นเถิด,
แม้สรรพสิ่งอันอาศัย กายนี้ ก็แตกไปเสียเถิด,
ปาลิตะ เหตุไฉน ท่านจึงประมาทอยู่.
ตสฺมา เต จกฺขูนิ นสฺสนฺตุ วา ภิชฺชนฺตุ วา พุทฺธสาสนเมว ธาเรหิ มา จกฺขูนี”ติ ภูตกายํ โอวทนฺโต อิมา คาถาโย อภาสิ
“จกฺขูนิ หายนฺตุ มมายิตานิ
โสตานิ หายนฺตุ ตเถว กาโย.
สพฺพมฺปิทํ หายตุ เทหนิสฺสิตํ
กึ การณา ปาลิต ตฺวํ ปมชฺชสิ.
“จกฺขูนิ ชีรนฺตุ มมายิตานิ
โสตานิ ชีรนฺตุ ตเถว กาโย.
เหตุฉะนั้น จักษุของท่านฉิบหายเสียหรือแตกเสียก็ตามเถิดท่านจงทรงแต่พระพุทธศาสนาไว้เถิด อย่าเห็นแก่จักษุเลย เมื่อกล่าวสอนภูตกาย ได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ว่า :-
จักษุที่ท่านถือว่าของตัว เสื่อมไปเสียเถิด,
หู ก็เสื่อมไปเสียเถิด,
กายก็เป็นเหมือนกันอย่างนั้นเถิด,
แม้สรรพสิ่งอันอาศัยกายนี้ ก็เสื่อม ไปเสียเถิด,
ปาลิตะ เหตุไฉน ท่านจึงประมาทอยู่.
จักษุที่ท่านถือว่าของตัว ทรุดโทรมไปเสียเถิด,
หูก็ทรุดโทรมไปเสียเถิด,
กายก็เป็นเหมือน กันอย่างนั้นเถิด,
สพฺพมฺปิทํ ชีรตุ เทหนิสฺสิตํ
กึ การณา ปาลิต ตฺวํ ปมชฺชสิ.
“จกฺขูนิ ภิชฺชนฺตุ มมายิตานิ
โสตานิ ภิชฺชนฺตุ ตเถว กาโย.
สพฺพมฺปิทํ ภิชฺชตุ เทหนิสฺสิตํ
กึ การณา ปาลิต ตฺวํ ปมชฺชสี”ติ.
แม้สรรพสิ่งอันอาศัยกายนี้ ก็ทรุดโทรมไปเสียเถิด,
ปาลิตะ เหตุไฉน ท่านจึงประมาทอยู่.
จักษุที่ท่านถือว่าของตัว แตก ไปเสียเถิด,
หูก็แตกไปเสียเถิด,
รูปก็เป็นเหมือนกันอย่างนั้นเถิด,
แม้สรรพสิ่งอันอาศัย กายนี้ ก็แตกไปเสียเถิด,
ปาลิตะ เหตุไฉน ท่านจึงประมาทอยู่.
[หมอเลิกรักษาพระมหาปาละ]
เอวํ ตีหิ คาถาหิ อตฺตโน โอวาทํ ทตฺวา นิสินฺนโกว นตฺถุกมฺมํ กตฺวา คามํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ. เวชฺโช ตํ ทิสฺวา “กึ ภนฺเต นตฺถุกมฺมํ กต”นฺติ ปุจฺฉิ. “อาม อุปาสกา”ติ. “กีทิสํ ภนฺเต”ติ? “รุชฺชเตว อุปาสกา”ติ. “นิสีทิตฺวา โว ภนฺเต นตฺถุกมฺมํ กตํ นิปชฺชิตฺวา”ติ. เถโร ตุณฺหี อโหสิ ปุนปฺปุนํ ปุจฺฉิยมาโนปิ น กิญฺจิ กเถสิ. อถ นํ เวชฺโช “ภนฺเต ตุมฺเห สปฺปายํ น กโรถ อชฺชโต ปฏฺฐาย ‘อสุเกน เม เตลํ ปกฺก’นฺติ มา วทิตฺถ อหมฺปิ ‘มยา โว เตลํ ปกฺก’นฺติ น วกฺขามี”ติ อาห.
ครั้นพระเถระให้โอวาทแก่ตนเองด้วย ๓ คาถาอย่างแล้ว ได้นั่ง ทำนัตถุกรรมแล้วจึงเข้าไปบ้านเพื่อบิณฑบาต หมอเห็นแล้วเรียนถามว่า ท่านเจ้าข้า ท่านทำนัตถุกรรมแล้วหรือ ?
ถ. เออ อุบาสก.
ม. เป็นอย่างไรบ้าง ขอรับ.
ถ. ยังแทงอยู่เทียว อุบาสก.
ม. ท่านนั่งหยอดหรือนอนหยอด ขอรับ. พระเถระได้นิ่งเสีย, ท่านแม้อันหมอถามซ้ำ ก็ไม่พูดอะไร. ขณะนั้น หมอกกล่าวกะท่านว่า ท่านผู้เจริญ ท่านไม่ทำความสบาย, ตั้งแต่วันนี้ ขอท่านอย่าได้กล่าวว่า หมอผู้โน้นหุงน้ำมันให้เรา แม้ข้าพเจ้าก็จักไม่กล่าวว่า ข้าพเจ้าหุงน้ำมันถวายท่าน.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น