วันจันทร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558

แปลโดยพยัญชนะเรื่องปัญหาของพระเถระชื่อว่าอานนท์



แปลโดยพยัญชนะเรื่องปัญหาของพระเถระชื่อว่าอานนท์

. อานนฺทตฺเถรปญฺหาวตฺถุ
 ปุปฺผคนฺโธ ปฏิวาตเมตีติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา สาวตฺถิยํ วิหรนฺโต อานนฺทตฺเถรสฺส ปญฺหํ วิสฺสชฺเชนฺโต กเถสิ.

๙. อ. เรื่องแห่งปัญหาของพระเถระชื่อว่าอานนท์
(อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ
            อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี เมื่อทรงแก้ ซึ่งปัญหา ของพระเถระชื่อว่าอานนท์ ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้ ว่า น ปุปฺผคนฺโธ ปฏิวาตเมติ ดังนี้เป็นต้น ฯ

เถโร กิร สายนฺหสมเย ปฏิสลฺลีโน จินฺเตสิ ภควตา มูลคนฺโธ สารคนฺโธ ปุปฺผคนฺโธติ ตโย อุตฺตมคนฺธา วุตฺตา เตสํ อนุวาตเมว คนฺโธ คจฺฉติ โน ปฏิวาตํ. อตฺถิ นุ โข ตํ คนฺธชาตํ ยสฺส ปฏิวาตมฺปิ คนฺโธ คจฺฉตีติ.

 ได้ยินว่า อ. พระเถระ หลีกเร้นแล้ว ในสมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน คิดแล้ว ว่า อ. กลิ่นอันสูงสุด ท. สาม คือ อ. กลิ่นอันเกิดแล้วจากราก อ. กลิ่นอันเกิดแล้วจากแก่น อ. กลิ่นอันเกิดแล้วจากดอกไม้ อันพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสแล้ว, อ. กลิ่น ของกลิ่นอันสูงสุด ท. สามเหล่านั้น ย่อมไป สู่ที่ตามซึ่งลมนั่นเทียว ย่อมไม่ไป สู่ที่ทวนแก่ลม; อ. กลิ่น ของคันธชาตใดย่อมไปป แม้สู่ที่ทวนแก่ลม อ. คันธชาตนั้น มีอยู่ หรือหนอ แล ดังนี้ ฯ


อถสฺส เอตทโหสิ กึ มยฺหํ อตฺตนา วินิจฺฉิเตน สตฺถารํเยว ปุจฺฉิสฺสามีติ. โส สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา ปุจฺฉิ

ครั้งนั้น อ. ความคิดนั่น ว่า อ.ประโยชน์อะไร ของเรา ด้วยการวินิจฉัย ด้วยตนอ. เรา จักทูลถาม ซึ่งพระศาสดานั่นเทียว ดังนี้ ได้มีแล้ว แก่พระเถระนั้น ฯ อ. พระเถระนั้น เข้าไปเฝ้าแล้ว ซึ่งพระศาสดา ทูลถามแล้ว ฯ 


เตน วุตฺตํ “อถ โข อายสฺมา อานนฺโท สายนฺหสมเย ปฏิสลฺลานา วุฏฺฐิโต เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ เอกมนฺตํ นิสินฺโน โข อายสฺมา อานนฺโท ภควนฺตํ เอตทโวจ
ตีณิมานิ ภนฺเต คนฺธชาตานิ เยสํ อนุวาตเมว คนฺโธ คจฺฉติ โน ปฏิวาตํ. กตมานิ ตีณิ? มูลคนฺโธ สารคนฺโธ ปุปฺผคนฺโธ อิมานิ โข ภนฺเต ตีณิ คนฺธชาตานิ. เยสํ อนุวาตเมว คนฺโธ คจฺฉติ โน ปฏิวาตํ. อตฺถิ นุ โข ภนฺเต กิญฺจิ คนฺธชาตํ ยสฺส อนุวาตมฺปิ คนฺโธ คจฺฉติ ปฏิวาตมฺปิ คนฺโธ คจฺฉติ อนุวาตปฏิวาตมฺปิ คนฺโธ คจฺฉตีติ?

เพราะเหตุนั้น (อ. คำ) ว่า ครั้งนั้นแล อ. พระอานนท์ ผู้มีอายุ ออกแล้ว จากที่เป็นที่หลีกเร้น ในสมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวันอ. พระผู้มีพระภาคเจ้า (ย่อมประทับอยู่ โดยส่วนแห่งทิศ) ใด, เข้าไปเฝ้าแล้ว (โดยส่วนแห่งทิศ) นั้น; ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว ได้กราบทูลแล้ว ซึ่งคำนั่น กะพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.กลิ่น ของคันธชาต ท. เหล่าใด ย่อมไป สู่ที่ตามซึ่งลมนั่นเทียว, ย่อมไม่ไป สู่ที่ทวนแก่ลม อ. คันธชาต ท. เหล่านี้ สาม ฯ อ. คันธชาต ท. ๓ เหล่าไหน ? ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. กลิ่น ของคันธชาต ท. เหล่าใด ย่อมไป สู่ที่ตามซึ่งลมนั่นเทียว ย่อมไม่ไป สู่ที่ทวนแก่ลม อ. คันธชาต ท. สาม เหล่านี้ แล คือ อ. กลิ่นอันเกิดแล้วจากราก, อ. กลิ่นอันเกิดแล้วจากแก่น, อ. กลิ่นอันเกิดแล้วจากดอกไม้ ฯ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. กลิ่น ของอันธชาตใด ย่อมไป สู่ที่ตามซึ่งลมบ้าง, อ. กลิ่น (ของคันธชาตใด) ย่อมไป สู่ที่ทวนแก่ลมบ้าง, อ. กลิ่น (ของคันธชาตใด) ย่อมไป สู่ที่ตามซึ่งลมและที่ทวนแก่ลมบ้าง อ. คันธชาต อะไร ๆ (นั้น) มีอยู่หรือ หนอ แล ดังนี้ (ดังนี้) (อันพระธรรมสังคาหกาจารย์) กล่าวแล้ว ฯ 





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น